เลขโรมัน

ตัวเลขโรมัน (Roman numerals) เป็นระบบตัวเลขที่ใช้สืบต่อกันมาตั้งแต่ยุคสมัยโรมโบราณ ซึ่งมีการนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในทวีปยุโรป ก่อนที่จะมีตัวเลขฮินดูอารบิกเข้ามาแทนที่อย่างที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งตัวเลขโรมันจะประกอบไปด้วยสัญลักษณ์พื้นฐานทั้งหมด 7 ตัวหลักด้วยกัน นั่นก็คือ I, V, X, L, C, D และ M สัญลักษณ์เหล่านี้ได้เริ่มใช้ในระหว่างปี 900-800 ปีก่อนคริสต์ศักราช และถึงแม้ว่าในปัจจุบันคนหันมานิยมใช้ตัวเลขฮินดูอารบิกกันแล้ว แต่ตัวเลขโรมันก็ยังปรากฏอยู่ให้เห็นทั่วไป อาทิเช่น ใช้เป็นตัวเลขบนหน้าปัดนาฬิกา, การลำดับหลังชื่อบุคคลสำคัญ หรือระบุบทต่างๆ ในหนังสือภาษาอังกฤษ เป็นต้น
ตัวอย่างเลข 1-100 ภาษาอังกฤษที่แทนด้วยตัวเลขสัญลักษณ์เลขโรมัน ดังต่อไปนี้
เลขอารบิก | เลขโรมัน |
---|---|
1 | I |
2 | II |
3 | III |
4 | IV |
5 | V |
6 | VI |
7 | VII |
8 | VIII |
9 | IX |
10 | X |
11 | XI |
12 | XII |
13 | XIII |
14 | XIV |
15 | XV |
16 | XVI |
17 | XVII |
18 | XVIII |
19 | XIX |
20 | XX |
21 | XXI |
22 | XXII |
23 | XXIII |
24 | XXIV |
25 | XXV |
26 | XXVI |
27 | XXVII |
28 | XXVIII |
29 | XXIX |
30 | XXX |
31 | XXXI |
32 | XXXII |
33 | XXXIII |
34 | XXXIV |
35 | XXXV |
36 | XXXVI |
37 | XXXVII |
38 | XXXVIII |
39 | XXXIX |
40 | XL |
41 | XLI |
42 | XLII |
43 | XLIII |
44 | XLIV |
45 | XLV |
46 | XLVI |
47 | XLVI |
48 | XLVIII |
49 | XLIX |
50 | L |
51 | LI |
52 | LII |
53 | LIII |
54 | LIV |
55 | LV |
56 | LVI |
57 | LVII |
58 | LVIII |
59 | LIX |
60 | LX |
61 | LXI |
62 | LXII |
63 | LXIII |
64 | LXIV |
65 | LXV |
66 | LXVI |
67 | LXVII |
68 | LXVIII |
69 | LXIX |
70 | LXX |
71 | LXXI |
72 | LXXII |
73 | LXXIII |
74 | LXXIV |
75 | LXXV |
76 | LXXVI |
77 | LXXVII |
78 | LXXVIII |
79 | LXXIX |
80 | LXXX |
81 | LXXXI |
82 | LXXXII |
83 | LXXXIII |
84 | LXXXIV |
85 | LXXXV |
86 | LXXXVI |
87 | LXXXVII |
88 | LXXXVIII |
89 | LXXXIX |
90 | XC |
91 | XCI |
92 | XCII |
93 | XCIII |
94 | XCIV |
95 | XCV |
96 | XCVI |
97 | XCVII |
98 | XCVIII |
99 | XCIX |
100 | C |
ขอยกตัวอย่างเพิ่มเติมเลข 1-1,000 ภาษาอังกฤษสามารถแทนด้วยตัวเลขสัญลักษณ์เลขโรมัน ดังต่อไปนี้
– 1=I
– 5=V
– 10=X
– 50=L
– 100=C
– 500=D
– 1,000=M
จะเห็นได้ว่าภาษาโรมันหากเป็นเลขโรมัน 1-100 จะประกอบไปด้วย 6 สัญลักษณ์ ได้แก่ I, V, X, L, C และ D แต่ถ้าเป็นตัวเลขอังกฤษ 1-1,000 จะแทนด้วยสัญลักษณ์เลขโรมันครบทั้งหมด 7 สัญลักษณ์ ได้แก่ I, V, X, L, C, D และ M ซึ่งตัวเลข 1,000 แปลเลขโรมันคือสัญลักษณ์ตัว M นั่นเอง

สำหรับตัวอักษรโรมันที่มักพบเห็นในปัจจุบันส่วนใหญ่จะออกมาในรูปแบบของตัวเลข 1-100 บางคนอาจนำจุดต่างนี้มาสร้างความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว อย่างการเขียนเลขภาษาอังกฤษ ซึ่งมีการนับเลขภาษาอังกฤษออกเป็นภาษาเขียน ดังต่อไปนี้ ตัวเลข 1, 2, 3, 4 และ 5 เป็นต้น แน่นอนว่าใครๆ ก็เขียนได้เพราะเป็นที่รู้จักและเป็นภาษาสากลระดับโลก แต่พอมาเขียนอยู่ในรูปแบบเลขโรมันอย่าง 1 แทนสัญลักษณ์ด้วย I, 2 แทนสัญลักษณ์ด้วย II, 3 แทนสัญลักษณ์ด้วย III, 4 แทนสัญลักษณ์ด้วย IV และ 5 แทนสัญลักษณ์ด้วย V ก็จะสามารถสร้างความแตกต่างและดึงดูดความสนใจได้มากขึ้น
ภาษาเลขที่ใช้กันในปัจจุบันที่เป็นสากลโลก เรียกว่า ตัวเลขฮินดูอารบิก ซึ่งในประเทศไทยก็ได้รับอิทธิพลจากตัวเลขฮินดูอารบิกมาเช่นกัน ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะมีเลขไทยเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง แต่สำหรับการใช้งานเพื่อการติดต่อสื่อสาร การใช้ตัวเลขฮินดูอารบิกจะง่ายและสะดวกกว่า เพราะเป็นเลขสากลโลกไม่ว่าประเทศใดก็รู้จัก ยกตัวอย่างความแตกต่างของตัวเลขทั้ง 3 แบบ ตัวเลขฮินดูอารบิก, ตัวเลขโรมัน และตัวเลขไทย
ยกตัวอย่างคำว่า เพลงสากลเก่า ยุค70
- เขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก ดังนี้ เพลงสากลเก่า ยุค70
- เขียนเป็นตัวเลขโรมัน ดังนี้ เพลงสากลเก่า ยุคLXX
- เขียนเป็นตัวเลขไทย ดังนี้ เพลงสากลเก่า ยุค๗๐ เป็นต้น
สำหรับตัวเลขโรมันที่ประกอบไปด้วย 7 สัญลักษณ์ อันได้แก่ I, V, X, L, C, D และ M แต่สำหรับภาษาไทยจะประกอบไปด้วยพยัญชนะไทย 44 ตัวและสระ 21 รูป 32 เสียง นอกจากตัวเลขจะแทนสัญลักษณ์เลขต่างๆ ในแต่ละภาษาแล้ว ยังสามารถเขียนออกมาเป็นภาษาเขียนได้อีกด้วย อย่างเช่นการแปลงตัวเลขเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
- 102 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ One hundred two
- 2021 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ Two thousand twenty one
- 3.1416 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ Three point one four one six
- 1,000,000 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ One million
- 1,000,000,000 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ One billion
- 1,000,000,000,000 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ One trillion เป็นต้น
เลขเรียกหนังสือ (Call Number)
คือ สัญลักษณ์ที่ห้องสมุดกำหนดขึ้นจากหมวดหมู่หรือเนื้อหาของหนังสือ เพื่อเป็นเครื่องหมายแสดงที่อยู่ของหนังสือในแต่ละเล่ม ทำให้ง่ายต่อการจัดเก็บและการค้นหาหนังสือ ซึ่งเลขเรียกหนังสือจะปรากฏให้เห็นเด่นชัดอยู่ที่สันของหนังสือ หรือสามารถค้นหาออนไลน์ได้ที่รายการบรรณานุกรมในระบบออนไลน์ หรือ OPAC (Online Public Access Catalog) โดยเลขเรียกหนังสือจะประกอบไปด้วย เลขหมู่ของหนังสือ, อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง, เลขประจำตัวผู้แต่ง และอักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง
ขอยกตัวอย่าง การแปลงตัวเลข 1 ถึง 10 ภาษาอังกฤษจากตัวเลขเป็นตัวอักษรเพิ่มเติม ดังนี้
- 1 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ One
- 2 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ Two
- 3 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ Three
- 4 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ Four
- 5 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ Five
- 6 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ Six
- 7 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ Seven
- 8 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ Eight
- 9 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ Nine
- 10 แปลงเป็นตัวอักษรดังนี้ Ten
ตัวเลขสามารถแสดงออกมาเป็นจำนวน หรือกำหนดค่าของสิ่งต่างๆ รอบตัวได้ อย่างเช่น จำนวนเงินที่เขียนเป็นภาษาอังกฤษว่า (Money) 100 บาท หรือทองภาษาอังกฤษ (Gold) 100 ชั่งเป็นต้น ตัวเลขที่เหมือนกันคุณค่าอาจต่างกันขึ้นอยู่กับวัตถุที่เรานำตัวเลขนั้นไปใส่กำกับไว้
หลักการเขียนย่อความ ประกอบด้วยดังนี้
- อ่านเรื่องที่ต้องการย่อความอย่างละเอียด และทำความเข้าใจถึงจุดประสงค์หรือเจตนาของผู้เขียน
- หาประเด็นหรือใจความสำคัญของแต่ละบทหรือแต่ละย่อหน้า จากนั้นนำสิ่งที่จับใจความได้มาเขียนเรียบเรียงเป็นภาษาที่สละสลวยในรูปแบบของตนเอง
- หากมีคำราชาศัพท์ต้องคงคำราชาศัพท์นั้นไว้
- เปลี่ยนสรรพนามบุรุษที่ 1 และที่ 2 ให้เป็นสรรพนามบุรุษที่ 3 ทั้งหมด เพราะการเขียนย่อความเป็นการนำเรื่องราวของผู้อ่านมาย่นย่ออีกครั้ง ไม่ใช่เป็นเนื้อหาที่เราเขียนขึ้นเอง
- บอกที่มาของข้อความที่นำมาย่อความ โดยเขียนกำกับไว้ในย่อหน้าแรก จากนั้นค่อยเขียนเนื้อหาที่ย่อแล้วไว้ในย่อหน้าที่สองเป็นลำดับต่อไป
หลักการเขียนย่อความสามารถนำไปใช้ได้กับการอ่านบทความทุกประเภท นับว่าเป็นศาสตร์ที่ประโยชน์อย่างยิ่ง อย่างเช่นเรื่องตัวเลขที่เรานำมาเล่าวันนี้ เป็นต้น
ถ้าพูดถึงลำดับตัวเลขผู้คนมักนิยมเลือกลำดับตัวเลขที่ตัวเองชื่นชอบ หรือที่คิดว่าเป็นตัวเลขนำโชค (Lucky number) และนำตัวเลขเหล่านั้นมาสักเป็นตัวเลขหรือตัวอักษร เช่น ลำดับที่ภาษาอังกฤษ 131 หากลำดับเลขนี้เป็นที่ชื่นชอบของใครก็มักจะนำเลขมาสักไว้ที่ลำตัวหรือแขน เป็นต้น และรอยสักเลขโรมันนับว่าได้รับความสนใจอย่างแพร่หลายเพราะมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว อีกทั้งมีเฉพาะคนที่อ่านเลขโรมันได้เท่านั้นถึงจะเข้าใจความหมาย ถือว่าสร้างความต่างได้เป็นอย่างดี ลายสักอักษรยอดนิยม อาทิเช่น Love yourself ที่แปลว่ารักตัวเอง หรือ Positive ที่แปลว่าแง่บวก เป็นต้น
การทำตารางเลข 1-100 ทำให้เราเห็นภาพและเลือกตัวอย่างเลขโรมันเพื่อนำมาสักได้ อย่างตัวอักษรที่อ่าน XXX บางคนอาจสื่อความหมายไปในทางที่ไม่ดี แต่ในตัวเลขโรมันมีค่าเท่ากับ 30 ไม่ได้มีความหมายอื่นใดแฝงอยู่ หรือบางคนก็ชอบสักเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษอย่างคำว่า Mount แปลว่า ภูเขา หรือพ่อค้าภาษาอังกฤษที่เขียนว่า Merchant ก็ได้ทั้งนั้นแล้วแต่ชอบความส่วนบุคคล
นอกจากนี้บางคนก็นิยมสักเลข 1-20 ภาษาอังกฤษหรือเลขหนึ่งร้อยภาษาอังกฤษ อาจจะเลือกสักเป็นตัวเลขหรือตัวอักษร หรือเลือกเลขเป็นภาษาอังกฤษที่เป็นปีเกิดของตัวเองอย่างเช่น Since 1995 เป็นต้น
เรื่องของตัวเลขยังมีให้เราได้ศึกษาอีกมาก ขอเพิ่มเกร็ดความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพไว้เล็กน้อย อย่างการนวดกดจุดบริเวณฝ่ามือหรือที่เรียกกันว่า ตีลัญจกร วิธีนี้สามารถช่วยบรรเทาอาการเจ็บป่วยบางชนิดได้ เพราะเป็นการนวดที่มีความสัมพันธ์กันระหว่างมือและสมอง การนวดบริเวณฝ่ามืออย่างถูกวิธีจะช่วยกระตุ้นการทำงานของสมองหรือระบบต่างๆ ภายในร่างกายได้ อีกทั้งยังช่วยบรรเทาอาการทางกาย อาทิเช่น อาการเครียด, อาการนอนไม่หลับ และอาการไมเกรน เป็นต้น
ตัวเลขโรมัน 1-1,000 และตัวเลขอารบิก 1-100 ที่ได้ยกตัวอย่างไว้ข้างต้น เชื่อว่าหลายคนคงเห็นผ่านตากันมาบ้างแล้ว แต่จะขอยกตัวอย่างพร้อมคำอ่านเลขภาษาอังกฤษ เขียนเป็นตัวเลขโรมันและแปลตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
- M เป็นสัญลักษณ์ตัวเลขโรมัน
- M แปลตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษคือ 1,000
- M แปลตัวอักษรเป็นภาษาอังกฤษคือ Thousand เป็นต้น
ยังมีตัวอย่างตัวเลข 1-1,000 ภาษาอังกฤษพร้อมคำอ่านให้ได้ศึกษาอีกมาก ยกตัวอย่างเลข 45 ภาษาอังกฤษ คือ Forty-five ,500 ภาษาอังกฤษ Five hundred หรือ 1,000 ภาษาอังกฤษ One thousand เป็นต้น และถ้าหากพูดถึงตัวเลขก็เป็นได้หลายภาษา เลขเป็นภาษาอังกฤษ, เลขเป็นภาษาไทย หรือเลขเป็นภาษาโรมัน เป็นต้น
ตัวเลขโรมันยังเข้ามามีอิทธิพลอย่างมากต่อวงการนาฬิกา อย่างที่พบเห็นบ่อยๆ ว่าหน้าปัดของนาฬิกาบางรุ่นบางยี่ห้อก็ออกแบบให้เป็นนาฬิกาเลขโรมัน บางยี่ห้ออาจออกแบบให้เป็นเลขโรมันมากกว่าหรือเท่ากับภาษาอังกฤษเลยก็ว่าได้
คำว่าอิสรภาพภาษาอังกฤษ เขียนว่า Freedom เป็นคำที่ผู้คนใช้กันอย่างแพร่หลาย และปลายทางชีวิตของหลายๆ คนก็อยากมี Freedom กันทั้งนั้น การใช้ตัวเลขก็เหมือนกัน สามารถเลือกใช้ได้อย่างไม่มีการกำหนดกฎเกณฑ์ อย่างเช่น ถึงแม้เราจะเป็นคนไทย มีตัวเลขไทยเป็นของเราเอง แต่เราก็สามารถใช้ตัวเลขอารบิกหรือเลขโรมันก็ย่อมได้ เพราะไม่ได้มีแค่ลำดับเลขไทย 1-100 แต่ลำดับเลขโรมันหรือลำดับเลขอังกฤษก็มีเช่นกัน
ว่าด้วยเรื่องการเขียนตัวเลขเป็นตัวหนังสือ หรือการเขียนจำนวนเงินเป็นภาษาอังกฤษ ขอยกตัวอย่างดังต่อไปนี้
- 50 บาท / 500 ดอลล่าร์ เขียนเป็นตัวหนังสือห้าสิบภาษาอังกฤษว่า Fifty baht / Fifty dollar
- 100 บาท / 100 ดอลล่าร์ เขียนเป็นตัวหนังสือหนึ่งร้อยภาษาอังกฤษว่า One hundred baht / One hundred dollar
- 150 บาท / 150 ดอลล่าร์ เขียนเป็นตัวหนังสือหนึ่งร้อยห้าสิบภาษาอังกฤษว่า One hundred fifty baht / One hundred fifty dollar เป็นต้น
วิธีดูนาฬิกาและการเขียนตัวเลขโรมัน
จะเขียนตัวเลขบนหน้าปัดนาฬิกา ดังนี้ I, II, III, IIII, V, VI, VII, VIII, IX, X, XI ,XII ข้อสังเกตโดยปกติเลข 4 โรมัน จะเขียนว่า IV แต่บนหน้าปัดนาฬิกาเขียนเป็น IIII เพราะต้องการให้บนหน้าปัดนาฬิกามีความสมดุลย์กันทั้งสองข้างนั่นเอง หนังสือภาษาอังกฤษม.1 บางเล่มได้สอดแทรกเนื้อหาของเลขโรมันส่งผลให้ตัวเลขพื้นฐานโรมันอย่างเลข 1-12 เด็กบางคนก็สามารถอ่านได้ (ข้อควรระวัง การดูนาฬิกาหากหน้าปัดนาฬิกาเป็นรอยจะทำให้อ่านตัวเลขได้ไม่ชัดเจน ทำให้การดูเวลาคลาดเคลื่อน ดังนั้นควรดูแลหน้าปัดโดยการใส่กันรอยเพื่อป้องกันหน้าปัดนาฬิกา)
ผู้คนที่นิยมสักเป็นเลขโรมันก็มีมาก แต่สำหรับบางคนที่ไม่ชอบสักแต่ชื่นชอบเลขโรมันเป็นการส่วนตัวอาจเลือกสลักเลขโรมันไว้บนแหวน (แหวนภาษาอังกฤษอ่านว่า Ring) และอาจเพิ่มลำดับตัวอักษรภาษาอังกฤษ อย่างเช่นสลักชื่อและตามด้วยเลขโรมัน เป็นต้น
อีกหนึ่งตัวเลขที่บางคนอาจสงสัยว่ามีลักษณะอย่างไร นั่นก็คือ ตัวเลขอียิปต์ ซึ่งสัญลักษณ์ตัวเลขอียิปต์จะไม่เหมือนกับสัญลักษณ์เลขโรมัน และที่สำคัญไม่ปรากฏอยู่ในแป้นพิมพ์ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ดังนั้นจะขอพูดถึงเพียงลักษณะโดยคร่าวๆ เพื่อให้เห็นภาพรวมเท่านั้น
- ลักษณะคล้ายกิ่งไม้ แทนจำนวน 1
- ลักษณะคล้ายกระดูกส้นเท้า แทนจำนวน 10
- ลักษณะคล้ายขดเชือก แทนจำนวน 100
- ลักษณะคล้ายดอกบัว แทนจำนวน 1,000
- ลักษณะคล้ายนิ้วชี้ แทนจำนวน 10,000
- ลักษณะคล้ายปลา แทนจำนวน 100,000
- ลักษณะคล้ายคนตกใจ แทนจำนวน 1,000,000

เห็นได้ชัดว่าตัวเลขเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของคนเราเป็นอย่างมาก แม้กระทั่งอนูเล็กๆ อย่างอะตอมบุหรี่ไฟฟ้าที่ดีที่สุดคือ ตัวอะตอมจะมีขนาด 25 มิลลิเมตร จะช่วยส่งผลดีต่อการจ่ายไฟ ก็ยังมีเรื่องของตัวเลขเข้าไปเกี่ยวข้อง หรือไม่ว่าจะเป็นน้ำหนัก, ส่วนสูง, วันเกิด หรืออายุ ก็เกี่ยวข้องกับการนับเลขทั้งสิ้น ไม่ว่าจะนับภาษาอังกฤษ ,ภาษาไทย หรือภาษาโรมัน อย่าง 1 ล้านภาษาอังกฤษเขียนว่า One million หรือ XI คือ ตัวเลข 11 ในตัวเลขฮินดูอารบิกนั่นเอง
แต่ถ้าพูดถึงวันที่ภาษาอังกฤษ 1-100 จะอ่านแตกต่างจากการอ่านตัวเลขอารบิกทั่วไป ขอยกตัวอย่างสัก 3 ลำดับของวันที่ ดังต่อไปนี้
- วันที่ 1 อ่านว่า First
- วันที่ 25 อ่านว่า Twenty-fifth
- วันที่ 31 อ่านว่า Thirty first เป็นต้น
สำหรับเลข 12 หลักที่ถือเป็นเลขประจำตัวของคนไทยนั่นหรือที่เรียกกันว่า เลขประจำตัวประชาชน ซึ่งประกอบไปด้วยเลขอาริบิก 12 หลักนั่นเอง แต่ถ้าพูดถึงเลขอารบิก 1-10 หรืออีกนัยนึงคือเลขอารบิก 10 หลัก นั่นก็คือเลขโทรศัพท์ที่มีประกอบไปด้วยเลข 10 ตัวนั่นเอง
สำหรับมือใหม่ของผู้ที่ยังไม่เคยเขียนตัวเลขมาก่อน แนะนำให้เริ่มจากเขียนบนแบบฝึกเขียนตามรอยประภาษาอังกฤษ หรือแบบฝึกเขียนตัวเลขไทย หมั่นเขียนและฝึกฝนอยู่เป็นประจำ หรือฝึกเขียนตัวเลขที่อยู่รอบตัว เช่น วันเกิด, เลขโทรศัพท์, หรือการเขียนบ้านเลขที่ภาษาอังกฤษ รวมทั้งฝึกเขียนภาษาไทยควบคู่ไปด้วยก็ยิ่งดี
ขอยกตัวอย่าง การเขียนลำดับตัวเลขภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
– ลำดับที่ 2 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Second
– ลำดับที่ 3 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Third
– ลำดับที่ 4 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Fourth
– ลำดับที่ 5 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Fifth
– ลำดับที่ 6 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Sixth
– ลำดับที่ 7 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Seventh
– ลำดับที่ 8 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Eighth
– ลำดับที่ 9 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Ninth
– ลำดับที่ 10 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Tenth
– ลำดับที่ 11 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Eleventh
– ลำดับที่ 12 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Twelfth
– ลำดับที่ 13 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Thirteenth
– ลำดับที่ 14 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Fourteenth
– ลำดับที่ 15 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Fifteenth
– ลำดับที่ 16 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Sixteenth
– ลำดับที่ 17 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Seventeenth
– ลำดับที่ 18 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Eighteenth
– ลำดับที่ 19 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Nineteenth
– ลำดับที่ 20 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Twentieth
– ลำดับที่ 21 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Twenty-first
– ลำดับที่ 22 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Twenty-second
– ลำดับที่ 23 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Twenty-third
– ลำดับที่ 24 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Twenty-fourth
– ลำดับที่ 25 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Twenty-fifth
– ลำดับที่ 30 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Thirtieth
– ลำดับที่ 31 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Thirty-first
– ลำดับที่ 100 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า The one hundredth
– ลำดับที่ 110 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า The one hundred and tenth
– ลำดับที่ 111 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า The one hundred and eleventh
– ลำดับที่ 120 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า The one hundred and twentieth
– ลำดับที่ 121 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า The one hundred and twenty first
– ลำดับที่ 130 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า The one hundred and thirtieth
– ลำดับที่ 131 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า The one hundred and thirty first
– ลำดับที่ 200 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า The two hundredth
– ลำดับที่ 1,000 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า One thousandth
– ลำดับที่ 10,000 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า Ten thousandth
– ลำดับที่ 100,000 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า One hundred thousandth
– ลำดับที่ 1,000,000 ภาษาอังกฤษ อ่านว่า One millionth
ขอบคุณที่มา:pangpond.com/เลขโรมัน วันพฤหัสบดี, 28 เมษายน 2565